คนมีรถควรรู้ ต่อพ.ร.บ. ทุกปี สามารถเบิกได้สูงสุดสามแสน




คนมีรถควรรู้ ต่อพ.ร.บ. ทุกปี สามารถเบิกได้สูงสุดสามแสน

ทุกคนที่มีรถในประเทศไ ท ยนั้นก ฎ ห ม า ย บังคับเลยว่าจะต้องทำ พ.ร.บ. รถด้วยเสมอแต่รู้ไหมว่าภายใต้การบังคับนี้หมายถึงการคุ้มครองและจะได้รับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ด้วยนะ ในบางกรณียังสามารถเบิกเงินคืนได้อีกด้วย หลายคนคิดว่าต่อไปตามหน้าที่เพราะกฎหมายบังคับเท่านั้น โดยไม่ได้สนใจถึงสิทธิที่จะได้อะไรเลย เอาล่ะวันนี้มีรายละเอียดของการ ต่ พ.ร.บ.มา ให้ทำความเข้าใจกัน
การคุ้มครองของ พ.ร.บ.รถยนต์

1 ค่ารั ก ษ า พ ย า บ า ลจากการบ า ด เ จ็ บ จ่ายตามจริง สูงสุด ไม่เกิน 30,000 บาท/คน

2 กรณี เ สี ย ชี วิ ต / สู ญ เ สี ย อ วั ย ว ะ/ ทุ พ พ ล ภ า พ ถาวร จะได้รับเงินชดเชย 35,000 บาท/คน

หากเสียหายจากทั้งข้อ 1 และ 2 นั้นจะต้องได้ไม่เกิน 65,000 บาท/คน เป็นการรับเงินสินไหมทดแทนที่ผู้ประสบเหตุควรได้รับ โดยมีผู้ค้ำประกันจะได้รับ หลังจากพิสูจน์แล้วว่าผู้ประกันไม่ได้เป็นฝ่ายผิดตามกฎหมาย
วงเงินคุ้มครอง/ค่าเสียหายเบื้องต้น กรณีเป็นฝ่ายถูก

Loading...

1 ค่ารั ก ษ า พ ย า บ า ลจากการ บ า ด เ จ็ บ สูงสุด ไม่เกิน 80,000 บาท/คน

2 กรณี เ สี ย ชี วิ ต/ ทุ พ พ ล ภ า พ ถ าวร ได้รับสูงสุด 300,000 บาท/คน

3 กรณี สู ญ อ วั ย ว ะ ใ น ร่ า ง ก า ย ตั้งแต่ข้อมือ แขน เท้า หรือตั้งแต่ข้อเท้า ขา ต า บ o ด รวมกัน 2 กรณีนี้ขึ้นไปจะได้รับเงิน 300,000 บาท แต่ถ้าหากเ สี ย มื อ ข้ อ มื อ แขน เท้า ขา สายตา หู ห น ว ก ใ บ้ ลิ้ น เ สี ย ห า ย อ วั ย ว ะ สื บ พั น ธุ์ เ สียหาย หรืออื่น ๆ จะได้รับ 250,000 บาท และถ้าเ สี ย นิ้ ว จะกี่นิ้วก็ตามจะได้รับ 200,000 บาท

4 ค่ารั ก ษ า พย าบ า ล ผู้ ป่ ว ยใน 200 บาท/วัน ไม่เกิน 20 วัน หรือ ไม่เกิน 4,000 บาท

5 เงินคุ้มครองรวมสูงสุดต้องไม่เกิน 304,000 บาท

6 เงินคุ้มครองรับผิดสูงสุดต่อ อุ บั ติ เ ห ตุแต่ละครั้ง สำหรับรถยนต์ที่ไม่เกิน 7 ที่นั่ง 5,000,000 บาท/ครั้ง

7 เงินคุ้มครองรับผิดสูงสุดต่อ อุ บั ติ เ ห ตุ แต่ละครั้ง สำหรับรถยนต์ที่เกิน 7 ที่นั่ง 10,000,000 บาท/ครั้ง
เครม พ.ร.บ. จะต้องเตรียมเอกสารดังนี้

Loading...

1 กรณีบ า ด เ จ็ บ จะต้องใช้

สำเนาบัตรประจำตั ว ป ร ะ ช า ช นของผู้ป ระ ส บ อุบั ติเ ห ตุ

ใบเสร็จรับเงินต้นฉบับกรณีเบิกค่าชดเชย หรือ ผู้ป่วยใน

ใบรับรองแพ ท ย์ / หนังสือรับรองการ รั ก ษ าตัวการเป็นผู้ ป่ ว ยใน

2 กรณีทุ พ พ ล ภ า พ

สำเนาบัตรประจำตั ว ป ร ะ ช า ช น

ใบรับรองแ พ ท ย์/หนังสือรับรองค วา ม พิ กา ร

สำเนาบันทึกประจำวันของพนักงานสอบสวน หรือ หลักฐานอื่น ๆ ที่แสดงว่าผู้นั้นได้รับความเ สี ยหายจากประสบ ภั ยจากรถ

3 กรณี เ สี ย ชี วิ ต

สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน

ใบม ร ณ ะ บั ต ร

สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ท า ย า ท / สำเนาทะเบียนบ้าน

สำเนาบันทึกประจำวันของพนักงานสอบสวน หรือ หลักฐานอื่น ๆ ที่แสดงว่าผู้นั้นเ สี ย ชี วิ ต จากประสบ ภั ยจากรถ

สำหรับท่านใดที่ประสบเหตุจากรถ ไม่ว่าจะกรณีไหน 1 – 3 ก็อย่าลืมเตรียมเอกสารยื่นเรื่องขอเบิกเงินคุ้มครองผู้ประสบ ภั ย โดยไปเบิกได้ที่ บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบ ภั ยจากรถยนต์ จำกัด ทุกสาขา ทั่วไ ท ย แล้วรอให้บริษัทดำเนินการทำเรื่องจ่ายเงินให้ ซึ่งจะได้รับภายใน 7 วัน ซึ่งการคุ้มครอง พ.ร.บ. นี้เฉพาะคนเท่านั้น ในส่วนของรถหรือทรัพย์สินนั้น พ.ร.บ.ไม่ได้คุ้มครอง หากต้องการรับความคุ้มครองต้องทำประกัน อุ บั ติ เ ห ตุ เอาไว้ต่างหาก ซึ่งมีให้เลือกหลายชั้นศึกษาดูและเลือกตามความเหมาะสม

Loading...

เรียบเรียงโดย krustory

0 comments:

Post a Comment