4 เรื่องที่ควรทำ เมื่อรายได้น้อย แต่อยากมีเงินพอ กิน พอใช้ เหลือเก็บ



4 เรื่องที่ควรทำ เมื่อรายได้น้อย แต่อยากมีเงินพอ กิน พอใช้ เหลือเก็บ

วันนี้เราอยากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้ข้อคิดการใช้ชีวิต กับบทความ 4 เรื่องที่ควรทำ เมื่อรายได้น้อย แต่อยากมีเงินพอ กิน พอใช้ เหลือเก็บ ไปดูกันว่าจะต้องทำอย่ างไรบ้าง

หล า ยคน คงเคยเจอ ปัญหาเงินเดือนไม่พอใช้ ต้นเดือนจ่าย ค่าโน่นค่านี่ พอ กลางเดือนเริ่มติดขัด รู้ตัวอีกทีก็ไม่มีเงิน ให้เก็บแล้ว หากลองทบทวนดูดี ๆ บางทีส่วนหนึ่งอาจจะเกิดจากทัศนคติทางการเงินของเราเอง เช่น การมองว่าเงินเดือนน้อย ไม่จำเป็นต้องเก็บออม ทั้ง ๆ ที่เราสามารถ เริ่มต้นออมได้เลย แม้จะมีรายได้น้อยหรือมีความรับผิดชอบภาระห นี้สินอื่น ๆ เพียงแค่เราบริหารจัดการการเงินให้ดี เดี๋ยวเราลองมาดูกันว่า คนรายได้น้อย ภาระค่าใช้จ่ายเยอะ จะต้องทำอย่ างไรถึงจะมีเงินออมหลักล้าน





1 ปรับทัศนคติเรื่องเงินใหม่

อย่ างแรกเราต้องปรับ ความคิดตัวเราก่อนว่าแม้เรา เงินเดือนน้อย และมีภาระค่าใช้จ่ายเยอะ เราก็สามารถออมควบคู่กันไปได้ถ้าใครยังมีความคิดว่าเงินเดือนน้อยไม่สามารถเก็บออมได้ ต้องรีบปรับวิธีคิดก่อนเลยว่า ‘ เราต้องมีเงินออมให้ได้’

2 เริ่มวางแผนค่าใช้จ่ายและการออมในแต่ละเดือน

การเริ่มต้นวางแผน การออมที่ดีและง่ายที่สุด คือ ‘ เงินเดือน – เงินออม = ค่าใช้จ่าย’ เพราะวิธีนี้ใช้ได้กับทุกคนไม่เฉพาะสำหรับคนรายได้น้อยหรือมีภาระห นี้เยอะอีกทั้งยังช่วยฝึกวินัยในการออมอัตโนมัติ จากนั้น เราลองมาดูรายการค่าใช้จ่าย ว่าส่วนไหนเป็นค่าใช้จ่ายที่จำเป็น ส่วนไหนเป็นค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเมื่อรู้แล้วจะได้เลือ กลดหรือตัดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นออ กไป หรือถ้าตัดไม่ได้ก็จะอาจ จะต้องทำงานเสริมเพื่อหารายได้เพิ่ม

3 จัดการเรื่องภาระห นี้สิน

ในกรณีที่มีภาระห นี้สิน จำนวนหล า ยก้อนแนะนำ ให้จัดหมวดหมู่ ห นี้ออ กเป็นประเภท เช่น ห นี้บัตรเครดิต ห นี้บ้าน ห นี้รถยนต์ เพื่อจัดอันดับว่าห นี้แบบไหน ที่ควรรีบปลดห นี้ก่อนโดยอาจเลือ กปลดห นี้ที่ดอ กเบี้ยสูงก่อน หรือ ปิดห นี้ก้อนเล็กก่อน ก็น่าจะช่วยสร้างกำลังใจในการปลดห นี้ เช่น ถ้ามีห นี้บัตรเครดิตหล า ยใบ ก็ควรทยอยปิดทีละใบ โดยเลือ กจากบัตรที่มีห นี้จำนวนน้อยที่สุดก่อนและที่สำคัญเลิกใช้วิธีหมุนเงินเพื่อโปะยอ ดห นี้





4 หาตัวช่วยออมเงินโดยใช้สวัสดิการจากบริษัทที่ทำงาน

สำหรับใคร ที่เป็นพนักงานบริษัท บางบริษัท จะมีสวัสดิการพิเศษด้านการออมเงินให้ที่เรียกว่า ‘ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพหรือ P r o v i d e n t F u n d’ ซึ่งความน่าสนใจ คือ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ถือว่าเป็นรูปแบบการออมเงินที่เปรียบเสมือน นายจ้างหรือบริษัทที่เราทำงานช่วยออมควบคู่ไปด้วย แถมยังเริ่มต้นด้วยเงินจำนวนไม่มาก เพราะพนักงานสามารถเลือ กแบ่งออมจากเงินเดือนได้ตั้งแต่ 2% – 15% ของเงินเดือน ( ขึ้นกับนโยบายของบริษัท ) โดยจะมีนายจ้าง ช่วยจ่ายสมทบให้อีกแรงใครที่มีภาระการเงินด้านอื่นเยอะ อาจจะเลือ กออมเริ่มต้นที่ 2% ก่อนก็ได้เมื่อเริ่มก้าวแรก ก้าวต่อไปจะมาเองและถ้าในอนาคตมีรายได้ที่มากขึ้นหรือค่าใช้จ่ายที่น้อยลง ก็สามารถขยับ เพิ่มจำนวนเงินออมเป็น 10% หรือเต็มที่ 15% ได้เงินที่แบ่งจากเงินเดือนของเรา จะเรียกว่า ‘ เงินสะสม’ ส่วนเงินที่นายจ้างจ่ายสมทบให้จะเรียกว่า ‘ เงินสมทบ’ และในส่วนของเงินสมทบจากนายจ้างนี่แหละ ที่ทำให้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพเหมาะกับมนุษย์เงินเดือนรายได้น้อยภาระเยอะ เพราะเป็นเหมือนการช่วยกันออม 2 แรง

ตัวอย่ าง

นาย A อายุ 23 ปี มีเงินเดือน 15,000 บาท ด้วยความที่นาย A เงินเดือนยังน้อย และมีภาระ ทางการเงินเยอะเลย เลือ กสะสม ผ่านกองทุน ที่ขั้นต่ำสุด คือ เดือนละ 2% นายจ้างจ่ายสมทบให้เดือนละ 2% โดยที่บริษัทมีอัตราปรับขึ้นเงินเดือนปีละ 5% และผลตอบแทนจากการลงทุน ในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

เฉลี่ย ปีละ 5%เมื่อนาย A อายุ 60 ปีหรือเกษียณ ออ กจากงาน จะมีเงินออมเท่าไหร่? คำตอบก็คือ นาย A จะมีเงินออมมากถึง 1 6 ล้านบาท!!จากตัวอย่ างที่ยกมาด้านบน เป็นเพียงการออม ที่สิทธิขั้นต่ำสุดคือ 2% ของเงินเดือน สำหรับคนที่มีรายได้ต่อเดือนประมาณ 15,000 บาท ก็แบ่งออมเพียง 300 บาทเท่านั้น เพราะฉะนั้น คนที่มีรายได้น้อยหรือภาระค่าใช้จ่ายเยอะ หรือติดพันภาระห นี้ต่าง ๆ ก็สามารถเริ่มออม กับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้ เพราะเงินเริ่มต้นไม่สูงเลยแถมยังได้เงินสมทบจากนายจ้างมาช่วยออมเพิ่มอีกแรงหนึ่งสวัสดิการ ‘ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือ P r o v i d e n t F u n d’

จึงถือได้ว่าเป็นรูปแบบการออมการลงทุน ที่เหมาะกับมนุษย์เงินเดือน รายได้น้อยหรือมีภาระเยอะ แต่ต้องการเก็บออมเงินเพราะ การออมกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพนอ กจะเป็นการฝึกวินัยการออมอัตโนมัติ แบบทุกๆ เดือนแล้วคงไม่มีการลงทุนรูปแบบใด ที่เริ่มต้นด้วยเงินเพียงน้อยนิด แต่สร้างเงินก้อน มหาศาลได้หากมีความตั้งใจขนาดนี้

ที่มา t h a i p v d, s a b a i l e y

0 comments:

Post a Comment